#4 Aj.Pay Khanis "PEST+G Analysis บริษัทน้ำตาลมิตรผล"
VISION
เราจะเป็นบริษัทชั้นนำระดับโลกในอุตสาหกรรมน้ำตาลและชีวพลังงาน
โดยการใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีและการจัดการ
PEST
Analysis
P Politic: ปัจจัยทางนโยบายและการเมือง
- นโยบายที่รัฐบาลใช้เป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภคเป็นผู้เสียประโยชน์โดยตลอดและรัฐบาลได้ผลักภาระสวนหนึ่งในการอุดหนุนผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายให้ผู้บริโภคน้ำตาลภายในประเทศเป็นผู้จ่ายแทน เพื่อที่รัฐบาลจะใช้จ่ายเงินงบประมาณเพื่อช่วยเหลืออุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายน้อยที่สุด
- คสช. ได้ตั้งนโยบายอ้อยและน้ำตาลด้วยการส่งเสริมให้มีการขยายพื้นที่การปลูกอ้อยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในลักษณะแบบการของตลาด
- รัฐบาลได้จัดตั้งนโยบายการส่งเสริมให้มีการขยายโรงงานขนาดเล็กเข้าไปยังพื้นที่เพาะปลู
กอ้อย เพื่อลดต้นทุนด้านการขนส่ง โดยมีข้อจำกัดว่าในการสร้างโรงงานขนาดเล็กนั้นจะต้องไม่ส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดมลภาวะต่อชุมชน
E Economic : ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
- ปัญหาภัยแล้งส่งผลกระทบรุนแรงต่ออุตสาหกรรมอ้อยมากขึ้นทุกปี ยิ่งในปี 2559 นี้ที่
หลายฝ่ายคาดว่าภัยแล้งจะรุนแรงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ทำให้ส่งผลกระทบต่อโรงงานน้ำตาล
ซึ่งคาดว่าน้ำจะมีไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก
- พบว่าคุณภาพผลผลิตอ้อยปี 2559 นี้ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ต่อตัน และค่าความหวานยังลดลงอย่างรุนแรง ซึ่งมีปริมาณอ้อยเข้าหีบแล้ว 72.92 ล้านตัน
อ้อย ผลิตน้ำตาลได้ 71.91 ล้านกระสอบ (100 กิโลกรัมต่อกระสอบ) ลดลง 6.84 ล้าน
กระสอบ เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาหีบอ้อยของปี 2558 ที่ผลิตได้ถึง 79.76 ล้านกระสอบ
โดยมียิลด์เฉลี่ยลดลงเหลือ 98.62 กิโลกรัมต่อตันอ้อย จากปี 2558 ที่มียิลด์อยู่ที่ 102.98
กิโลกรัม หรือลดลงกว่า 4.36 กิโลกรัมต่อตันอ้อย จึงคาดว่าผลผลิตทั้งอ้อยและน้ำตาลทราย
ของไทยปี 2559 นี้อาจต่ำกว่า 100 ล้านตัน
- บริษัทน้ำตาลมิตรผล ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำตาลส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 ได้ เตรียม
เสนอแนวทางการปฏิรูปภาคการเกษตรในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ต่อคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ(คสช.) เพี่อให้เกิดการแข่งขันในอุตสาหกรรมน้ำตาลอย่างเสรี สอดรับ
การแข่งขันในอุตสาหกรรมหลังเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- ปัจจุบันมิตรผลมีสัดส่วนการส่งออกน้ำตาลกว่า 70 % ของกำลังการผลิตน้ำตาลที่
2 ล้านตัน
- ปัจจุบันไทยส่งออกน้ำตาลไปจำหน่ายในสหรัฐฯเพียง 1.4 หมื่นตัน เมื่อเทียบกับตัวเลข
ส่งออกน้ำตาลของไทยที่ 8 ล้านตัน ถือว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก
S social : ปัจจัยทางสังคม
– สร้างโอกาสในการพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
ชุมชนผ่านกิจกรรมที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อผลิตและจำหน่ายสินค้าให้เป็นมิตรต่อสิ่ง
แวดล้อม
- มุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน
รวมทั้งเป็นผู้ที่ใส่ใจในการพัฒนาชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
T technology: ปัจจัยทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
- บริษัทมิตรผลเป็นบริษัทที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุด ·โดยใช้เทคโนโลยี Activated
Carbon ในการกรองน้ำเชื่อม เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยเป็นวัสดุที่ประกอบด้วยคาร์บอนที่มีรูพรุนเล็กๆ จำนวนมาก ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดซับสารที่เป็นอันตรายที่มาปนเปื้อน
- ควบคุมกระบวนการทำงานได้อย่างแม่นยำ และให้คุณภาพของผลผลิตที่สม่ำเสมอ
- ลดข้อผิดพลาด (Breakdown) ในกระบวนการผลิต จึงสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อ
เนื่อง
- พนักงานใช้เวลาในการดูแลเครื่องจักรน้อยลง และสามารถทำงานส่วนอื่นให้กับ
องค์กรได้มากขึ้น
- นโยบายที่รัฐบาลใช้เป็นประโยชน์ต่อผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค ทำให้ผู้บริโภคเป็นผู้เสียประโยชน์โดยตลอดและรัฐบาลได้ผลักภาระสวนหนึ่งในการอุดหนุนผู้ผลิตในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายให้ผู้บริโภคน้ำตาลภายในประเทศเป็นผู้จ่ายแทน เพื่อที่รัฐบาลจะใช้จ่ายเงินงบประมาณเพื่อช่วยเหลืออุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายน้อยที่สุด
- คสช. ได้ตั้งนโยบายอ้อยและน้ำตาลด้วยการส่งเสริมให้มีการขยายพื้นที่การปลูกอ้อยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ในลักษณะแบบการของตลาด
- รัฐบาลได้จัดตั้งนโยบายการส่งเสริมให้มีการขยายโรงงานขนาดเล็กเข้าไปยังพื้นที่เพาะปลู
กอ้อย เพื่อลดต้นทุนด้านการขนส่ง โดยมีข้อจำกัดว่าในการสร้างโรงงานขนาดเล็กนั้นจะต้องไม่ส่งผลกระทบหรือก่อให้เกิดมลภาวะต่อชุมชน
E Economic : ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
- ปัญหาภัยแล้งส่งผลกระทบรุนแรงต่ออุตสาหกรรมอ้อยมากขึ้นทุกปี ยิ่งในปี 2559 นี้ที่
หลายฝ่ายคาดว่าภัยแล้งจะรุนแรงกว่าทุกปีที่ผ่านมา ทำให้ส่งผลกระทบต่อโรงงานน้ำตาล
ซึ่งคาดว่าน้ำจะมีไม่เพียงพอต่อการเพาะปลูก
- พบว่าคุณภาพผลผลิตอ้อยปี 2559 นี้ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยปริมาณผลผลิตน้ำตาล
ต่อตัน และค่าความหวานยังลดลงอย่างรุนแรง ซึ่งมีปริมาณอ้อยเข้าหีบแล้ว 72.92 ล้านตัน
อ้อย ผลิตน้ำตาลได้ 71.91 ล้านกระสอบ (100 กิโลกรัมต่อกระสอบ) ลดลง 6.84 ล้าน
กระสอบ เมื่อเทียบกับช่วงระยะเวลาหีบอ้อยของปี 2558 ที่ผลิตได้ถึง 79.76 ล้านกระสอบ
โดยมียิลด์เฉลี่ยลดลงเหลือ 98.62 กิโลกรัมต่อตันอ้อย จากปี 2558 ที่มียิลด์อยู่ที่ 102.98
กิโลกรัม หรือลดลงกว่า 4.36 กิโลกรัมต่อตันอ้อย จึงคาดว่าผลผลิตทั้งอ้อยและน้ำตาลทราย
ของไทยปี 2559 นี้อาจต่ำกว่า 100 ล้านตัน
- บริษัทน้ำตาลมิตรผล ผู้ผลิตและจำหน่ายน้ำตาลส่วนแบ่งการตลาดอันดับ 1 ได้ เตรียม
เสนอแนวทางการปฏิรูปภาคการเกษตรในอุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทราย ต่อคณะรักษา
ความสงบแห่งชาติ(คสช.) เพี่อให้เกิดการแข่งขันในอุตสาหกรรมน้ำตาลอย่างเสรี สอดรับ
การแข่งขันในอุตสาหกรรมหลังเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- ปัจจุบันมิตรผลมีสัดส่วนการส่งออกน้ำตาลกว่า 70 % ของกำลังการผลิตน้ำตาลที่
2 ล้านตัน
- ปัจจุบันไทยส่งออกน้ำตาลไปจำหน่ายในสหรัฐฯเพียง 1.4 หมื่นตัน เมื่อเทียบกับตัวเลข
ส่งออกน้ำตาลของไทยที่ 8 ล้านตัน ถือว่าเป็นสัดส่วนที่น้อยมาก
S social : ปัจจัยทางสังคม
– สร้างโอกาสในการพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
ชุมชนผ่านกิจกรรมที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาอย่างเหมาะสม
- ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย เพื่อผลิตและจำหน่ายสินค้าให้เป็นมิตรต่อสิ่ง
แวดล้อม
- มุ่งมั่นพัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้มีความรู้และความสามารถในการปฏิบัติงาน
รวมทั้งเป็นผู้ที่ใส่ใจในการพัฒนาชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
T technology: ปัจจัยทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ
- บริษัทมิตรผลเป็นบริษัทที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุด ·โดยใช้เทคโนโลยี Activated
Carbon ในการกรองน้ำเชื่อม เป็นแห่งแรกในประเทศไทย โดยเป็นวัสดุที่ประกอบด้วยคาร์บอนที่มีรูพรุนเล็กๆ จำนวนมาก ซึ่งมีคุณสมบัติในการดูดซับสารที่เป็นอันตรายที่มาปนเปื้อน
- ควบคุมกระบวนการทำงานได้อย่างแม่นยำ และให้คุณภาพของผลผลิตที่สม่ำเสมอ
- ลดข้อผิดพลาด (Breakdown) ในกระบวนการผลิต จึงสามารถดำเนินงานได้อย่างต่อ
เนื่อง
- พนักงานใช้เวลาในการดูแลเครื่องจักรน้อยลง และสามารถทำงานส่วนอื่นให้กับ
องค์กรได้มากขึ้น
5force
อำนาจการต่อรองของผู้บริโภค (bargaining power of customers)
อำนาจการต่อรองของผู้บริโภคของธุรกิจประเภทกลุ่มน้ำตาลจะมีค่อนข้างต่ำ
เพราะด้วยเหตุที่ว่าน้ำตาลเป็นสินค้าที่มีการคุมราคาโดยรัฐบาล ซึ่งในเรื่องราคาที่ถูกควบคุมโดยรัฐแล้ว ลูกค้าก็จะไม่สามารถต่อรองราคาสินค้าได้มากนัก
เนื่องจากในแต่ละร้านก็จะมีราคาของสินค้าที่เท่ากันหรือใกล้เคียงกัน
เพื่อลดการแข่งขันการตัดราคาของผู้ประกอบการทุกฝ่าย
แต่ทั้งนี้บรรดาผู้ประกอบการก็สามารถเลือกที่จะแข่งขันธุรกิจกันได้นอกเหนือด้านราคาอย่างเช่น
แพคเกจของสินค้า การเพิ่มไลน์สินค้าผลิตภัณฑ์ หรือชื่อเสียงแบรนด์
การคุกคามของผู้ประกอบการใหม่(threat of new
entrants)
ในตลาดของธุรกิจน้ำตาล
ซึ่งเป็นเรื่องยากที่จะมีผู้ประกอบการรายใหญ่ๆเข้ามาในตลาด
แต่อาจมีบ้างที่เป็นกิจการเล็กๆ แต่เน้นการทำตลาดภายในชุมชน หรือในจังหวัด
แต่ถ้าเข้ามาแข่งขันในตลาดใหญ่ๆ โดยปกติแล้วธุรกิจใหญ่ๆ
อาจยังไม่ค่อยได้รับผลกระทบในเรื่องในเรื่องนี้สักเท่าไร
เพราะสำหรับธุรกิจขนาดใหญ่แล้วนั้นมักรับวัตถุดิบมาในราคาที่ถูกกว่า
ทำให้สามารถกำหนดราคาในราคาที่ต่ำกว่า รวมไปถึงระบบงานทั้งวิธีการจัดส่งและกระจายสินค้าที่มีประสิทธิภาพจนยากที่เจ้าใหม่จะเข้ามาทัดเทียมได้
การแข่งขันท่ามกลางคู่แข่งขันที่มีอยู่(rivalry among
existing competitors)
ธุรกิจน้ำตาลในประเทศไทยจะเห็นได้ว่า
ส่วนใหญ่จะมีเจ้าใหญ่ๆไม่กี่รายที่ครองส่วนแบ่งตลาดอยู่ การแข่งขันของตลาดน้ำตาลส่วนใหญ่จะเน้นไปในเรื่องของการทำ
CSR มากกว่า ภายใต้คำกล่าวที่ว่า "สร้างคุณค่า สร้างอนาคต" ซึ่งเน้นไปในทางการสร้างภาพลักษ์ของแบรนด์ และการตลาดแบบ social
enterprice ช่วยส่งเสริมเกษตรกรที่ปลูกอ้อยและให้ความรู้กับเกษตรกร
การประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มชุมชน เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อแบรนด์ แต่ถ้าการแข่งขันในอุตสาหกรรมใหญ่ๆอำนาจการต่อรองจากคู่ค้าก็จะสูง ดังนั้นจะแต่งต่างผู้บริโภคทั่วไปสิ้นเชิง
การต่อรองของ supplier (the bargaining power
of suppliers)
จำนวนผู้ขายหรือผู้ผลิตอ้อยในช่วงระยะเวลา4-5ปีที่ผ่านมา
แม้ว่าจะมีการส่งเสริมการผลิตอ้อยเพิ่มมากขึ้น
แต่เมื่อเทียบกับการเพิ่มจำนวนโรงงาน และการขยายตัวของอุตสาหกรรมโรงงานน้ำตาล
จะพบว่าผลผลิตอ้อยมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากปัญหาภัยแล้งซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อตัวอ้อย
ทำให้เกิดปัญหาอ้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการในอุตสาหกรรมใหญ่ๆ
แต่ก็ยังมีพื้นที่ปลูกสำรองในประเทศเพื่อนบ้าน
และก็ยังเกิดปัญหาจากการต่อรองจากชาวเกษตรกรอยู่
ทั้งนี้ ด้วยเนื่องพันธสัญญาจากคู่ค้าในระยะยาวซึ่งก็ถูกควบคุมโดยพันธสัญญาต่างๆ
การคุกคามของสินค้าทดแทน(threat of
substitutes)
การทดแทนของสินค้าประเภทน้ำตาลมีอยู่ค่อนข้างน้อยเพราะเป็นสินค้าที่ไม่ค่อยขาดตลาด
แต่ถ้าพูดถึงพฤติกรรมผู้บริโภคและเทคโนโลยีในปัจจุบัน
จะมีในเรื่องของสารให้ความหวานแทนน้ำตาลที่เข้ามาในตลาดและมีหลายตัว
ซึ่งผู้บริโภคกลุ่มนึงที่เป็นเบาหวาน หรือกลุ่มลูกค้าที่รักสุขภาพ
ต้องการควบคุมน้ำตาล จะหันไปใช้สินค้าพวกนี้แทนการใช้น้ำตาลปกติ
แต่ก็ยังมีผู้บริโภคเหล่านี้ไม่มากนักในกลุ่มนี้เพราะสินค้าประเภทนี้ยังเข้าถึงได้ค่อนข้างยากแต่ไม่มากและมีราคาที่สูงกว่าน้ำตาลทรายหลายเท่าตัว
แต่ในอนาคตถ้ามีผู้ประกอบการที่มีทุนสูงเข้ามาลงทุนในกลุ่มธุรกิจสารให้ความหวานแทนน้ำตาลมากขึ้นและมีเทคโนโลยีที่สามารถสกัดสารให้ความหวานในหญ้าหวาน
และการตลาดที่รุนแรง ก็อาจมีผลกระทบและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคได้
Benchmarking
เปรียบเทียบคู่แข่งโดยตรงกับ ธุรกิจน้ำตาลวังขนาย
เปรียบเทียบอุตสาหรกรรมเดียวกัน แต่ไม่ใช่คู่แข่งโดยตรงในธุรกิจ
**น้ำตาลยี่ห้อโลตัส น้ำตาลยีห้อบิ๊กซี น้ำตาลกระสอบ น้ำตาลที่บรรจุถุงที่ไม่ติดตรา
Innovation มิตรผล
Product
เน้นกระบวนการทำงานเป็นหลัก อาจมีองค์ประกอบสำคัญในการปรับปรุงอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้เครื่องจักร เทคโนโลยี การปรับปรุงหรือลดขั้นตอน ที่ทำให้เกิดการลดค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานก่อให้เกิดประสิทธิผลที่คุ้มค่า รวมทั้งการสร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างเป็นรูปธรรม
Management + Administration Excellence
เน้นในเรื่องการยกระดับการบริหารจัดการ ด้วยวิธีคิดในการบริหารจัดการใหม่ อันจะนำไปสู่ประโยชน์บนพื้นฐานของการประกอบธุรกิจใน Model เดิม ในเรื่อง
New Business Excellence
เป็นนวัตกรรมที่ก่อให้เกิดธุรกิจใหม่ ซึ่งต้องมีแผนธุรกิจ แผนการตลาด แผนการผลิต แผนการเงินและบัญชี แผนการบุคคลที่ชัดเจน ซึ่งได้รับการอนุมัติจาก Innovation Committee และได้รับอนุมัติโครงการ หรือ งบลงทุนจาก Board และมีผลลัพธ์ทางธุรกิจ
กลุ่มวังขนายเป็นผู้ผลิตน้ำตาลทรายรายใหญ่ของประเทศ ผลิตน้ำตาลดิบ น้ำตาลทรายขาว น้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ น้ำตาลธรรมชาติ น้ำตาลคาราเมล น้ำตาลทรายแดง น้ำตาลออร์แกนิค มีกำลังการที่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคจำนวนมาก
รูปแบบการทำการตลาดของวังขนาย สร้างการรับรู้แบรนด์ในเชิงบวก ปั้นภาพน้่ำตาลสุขภาพทดแทนสารหวานเพิ่มความอร่อย เกมต่อยอดการตลาดรับความพร้อมก่อนปลดแอคสินค้าควาบคุม วังขนายได้เผยแนวทางการทำธุรกิจภายใต้ Health Concen
วังขนายเน้นไปทางสุขภาพและการเป็นน้ำตาลออแกร์นิคจากธรรมชาติ โฟกัสไปที่การลงพื้นที่ให้ความรู้กับชาวไร่ที่ปลูกอ้อยอยู่แล้วเพื่อให้ผลิตน้ำตาลที่ไม่มีการปรุงแต่งใดๆให้เป็นน้่ำตาลจากธรรมชาติออร์แกนิคแท้ ตามโครงการ 100 ต้นต่อไร้่
วังขยายไม่ได้ทำแค่น้ำตาล แต่สินค้าคือซื้อเพื่อสุขภาพ
ก่อตั้ง 2518 ตั้งอยู่ ต.วังขนาย อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
กำลังการผลิตต่อวัน 15,453 ต้นอ้อย
ปัจจุบันได้ย้ายฐานการผลิตไปที่จ.มหาสารคาม
Process
(IN EX FUNCTION)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น