วันอาทิตย์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2559
วันอังคารที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
#B1 Aj.Burin Buntavong กลยุทธ์ความคิดสร้างสรรค์
กลยุทธ์ความคิดสร้างสรรค์
การกำหนดภาพพจน์
การติดต่อกับองค์การ ห้างร้าน หรือบริษัทต่างๆ ลูกค้าสามารถจะรู้สึกได้ว่ากิจการต่างๆ นั้นมีความแตกต่างกัน บางกิจการให้ความรู้สึกที่ว่าคอยจะเอาเปรียบผู้ซื้อตลอดเวลา
การนำเสนอสิ่งที่มองเห็น
1. สี (Colour)
2. กระดาษ (Papre)
3. การออกแบบโครงร่าง (Layout)
4. การนำเสนอโดยทั่วไป
การเขียนเนื้อหาที่โน้มน้าวใจ (Persuasive)
1. เนื้อหาจะส่งให้ผู้ใด
2. ผลที่ต้องการ
3. การเสนอผลประโยชน์ไม่ใช้รูปลักษณ์
4. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย
5. ทำให้อ่านง่าย
การใช้รางวัลจูงใจ
ประเภทรางวัลจูงใจได้แก่รางวัลการมีส่วนร่วม (Prize Schemes) ของขวัญให้เปล่า (Gifts) และส่วนลด (Discounts)ได้แก่
1. รางวัลการมีส่วนร่วม
2. ของขวัญให้เปล่า
3. ส่วนลด
#B0 Aj. Burin Buntavong การตลาดทางตรง การตลาดทั่วไป
การตลาดทางตรง(Direct Marketing)
การตลาดทางตรง
หมายถึง ระบบโต้ตอบทางการตลาดที่ใช้สื่อโฆษณาหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งสื่อ เพื่อให้เกิดผลที่วัดได้ และ/หรือ เกิดการแลกเปลี่ยน ณ สถานที่ใดที่หนึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะถูกบันทึกไว้เป็นฐานข้อมูล จากความหมายข้างต้นจะพบว่า
การตลาดทางตรงจะเกี่ยวกับกระบวนการ 6 ขั้นตอนได้แก่
1. การออกแบบและความคิดสร้างสรรค์
2. การรวบรวมข้อมูล
3. การจัดการฐานข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. การนำไปปฏิบัติและตอบสนองลูกค้า
6. การวิเคราะห์การตอบกลับของลูกค้า
(จดง่ายๆ คือ ออก + รวม + จัดฐาน + วิเคราะห์ข้อมูล + ปฏิบัติสนอง + วิเคราะห์ตอบกลับ)
ความแตกต่างระหว่างการตลาดทางตรง กับการตลาดทั่ว ๆ ไป
1. มีกลุ่มเป้าหมายที่แน่นอน
2. มีความเป็นส่วนตัว
3. ช่วยให้เกิดการตอบโต้อย่างทันที
4. เป็นกลยุทธ์ที่มองไม่เห็น/จับตองไม่ได้
5. ใช้ความสามารถในการวัด
ตัวแปรในการตัดสินใจของการทำการตลาดทางตรง
1. ข้อเสนอ
2. ความคิดสร้างสรรค์
3. สื่อ
4. เวลา/ลำดับ
5. การให้บริการลูกค้า
สื่อที่ใช้สำหรับการตลาดทางตรง
1. การตลาดทางตรงโดยใช้จดหมายทางตรง
2. การตลาดทางตรงโดยใช้แค็ตตาล็อก
3. การตลาดทางตรงโดยใช้โทรศัพท์
4. การตลาดทางตรงโดยใช้อินเทอร์เน็ต
5. การตลาดทางตรงโดยใช้สื่อขนาดใหญ่ประเภทสื่อกระจายเสียงและสื่อสิ่งพิมพ์
สาเหตุที่ทำให้การตลาดทางตรงมีความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน
ปัจจัยสำคัญประกอบการแรกที่มีส่วนผลักดันให้การตลาดทางตรงมีความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ “พฤติกรรมผู้บริโภค”
โดยพบว่า ในปัจจุบันพฤติกรรมผู้บริโภคส่วนใหญ่จะไม่ค่อยยึดติดในตรายี่ห้อ มักจะทำการตัดสินใจช้อในช่วงการส่งเสริมการตลาด เริ่มจะชอบความแตกต่างของสินค้าที่สนใจมากขึ้น เพราะผู้บริโภคมีการศึกษามากขึ้นจึงสนใจเทคโนโลยีมากขึ้น มีโน้นโน้มที่จะหาชื้อสินค้าด้วยวิธีที่สะดวก และรวดเร็วมากขึ้น
มีความต้องการบริหารการในขณะที่สั่งชื้อและหลังการขายที่ดีที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งมีความต้องการทราบข้อมูลที่เป็นประโยชน์กับตนเอง
ขอบคุณ : oknation.net/blog/Marketingthaismill
harry